ผศ.ดร.มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ


ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา


สาขาที่เชี่ยวชาญ :

- อิสลามศึกษา - ประวัติศาสตร์อิสลาม

สมรรถนะอาจารย์ :


ห้องทำงาน : ชั้น 2 ห้องสำนักงานผู้บริหาร


muhammadroflee.w@psu.ac.th

ประวัติการศึกษา
ปี ระดับ สาขาวิชา สถาบัน
2558 ปริญญาเอก อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเทศไทย
2540 ปริญญาโท Islamic History and Art Sakarya University, Turkey
2533 ปริญญาตรี อิสลามศึกษา (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเทศไทย
งานวิจัย
ปี งานวิจัย
ไม่มีข้อมูลที่บันทึก
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร
ปี บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร
2565 ยุทธนา เกื้อกูล, นิเลาะ แวอุเซ็ง, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2565). อัลวะสะฏียฺยะฮ์ (แนวทางสายกลาง) ตามการรับรู้ของนักศึกษาคณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 13(1), 313-333.
2564 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ, จารุวัจน์ สองเมือง, มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์, ยุโสบ บุญสุข และสราวุธ สายทอง. (2564). คุณลักษณะพึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนอิสลามศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในประเทศไทย. Journal of Information and Learning, 32(2), 40-50.
2562 อับดุลฮาดี สะบูดิง, อับดุลเลาะ การีนา, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2562). ชีวประวัติอิมามอันนะวะวีย์กับการนิพนธ์ตำราอัลมัจญ์มูอฺ. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 10(1), 15-25.
2562 Sylla, Mohammad Lamine M, Muhammadroflee Waehama, Asman Teaali. (2019). Pheasant in Calling (Da’wah): Alcohol Verses as Case Studies. Journal of Islamic Studies, Prince of Songkla University, 10(1), 85-97.
2561 Ibrahima Lamine, Yusof Talek, Muhammadroflee Waehama. (2018). Contemporary Islamic Education Reforms in Southern Thailand: A Case Study of Public, Private Islamic Schools and Pondoks. Journal of teaching and education, 8(2), 151-160.
2559 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ, กาเดร์ สะอะ. (2559). อัตลักษณ์แห่งระเบียบวิธีทางประวัติศาสตร์อิสลาม. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 7(2), 33-45.
2558 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ, อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต. (2558). บทบาทของเศาะหาบียาตในสังคมสมัยนบีมุหัมมัด r กับการประยุกต์ใช้กับสตรีไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารอัล-หิกมะฮฺ. 5(9), 49-60.
2558 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ, อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต. (2558). เศาะหาบียาตกับการประกอบอาชีพในสังคมมะดีนะฮ์. วารสารอัลนูร. 10(19), 1-12
2558 Abdulkadir Ahmad Sa-ad, Muhammad Roflee Waehama. (2015). The role of Arabic letters in the curriculum Tadika of the year 1426 AH. and its relationship with the Malay language – analytical and descriptive study. Journal of Islamic Studies, Prince of Songkla University, 6(2), 77-90.
2554 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2554). ทัศนะของอัลกุรอานและอัลหะดีษเกี่ยวกับความเป็นอุมมีย์ (Illiteracy) ของนบีมุหัมมัด. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2(2), 25-36.
2553 นิเลาะ แวอุเซ็ง, อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต, อับดุลรอชีด เจะมะ, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ, สมเจตน์ นาคเสวี, ฮุสนา อุษมานี. (2553). การมีส่วนร่วมขององค์กรมุสลิมในการส่งเสริมธรรมรัฐ ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชายแดนภาคใต้ . วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 16(1), 171-191.
2543 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2543). อิบนุ อิสฮากกับผลงานซีเราะฮ์. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 1(1), 47–69.
บทความที่นำเสนอที่ประชุมหรือสัมมนา
ปี บทความที่นำเสนอที่ประชุมหรือสัมมนา
2563 อับดุลฮาดี สะบูดิง, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ และยาฮารี กาเซ็ง. (2563). ความเข้าใจหลักวะสะฏียะฮ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 5 จัดโดยคณะวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วันที่ 23 ธันวาคม 2563. (หน้า 508-538).
2563 อิสยาส สิเดะ, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2563). Manifestations of Polytheism in Muslim Society and its Treatment Methods: Pattani Province Model. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 5 จัดโดยคณะวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วันที่ 23 ธันวาคม 2563. (หน้า 1315-1329).
2563 ยุทธนา เกื้อกูล, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ และนิเลาะ แวอูเซ็ง. (2563). แนวทางสายกลาง (อัลวะสะฏียยะฮ์) : การวิเคราะห์องค์ประกอบที่เหมาะสมในบบริบทของนักศึกษาคณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 5 จัดโดยคณะวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วันที่ 23 ธันวาคม 2563. (หน้า 559-577).
2562 อับดุลฮาดี สะบูดิง, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ, ยาฮารี กาเซ็ง. (2562). กระบวนการจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้หลักวะสะฏียะห์แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยอิสลามศึกษา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษาและมุสลิม ครั้งที่ 4. จัดโดย งานบัณฑิตศึกษาและหน่วยวิจัย วิทยาลัยอิสลามศึกษา. วันที่ 15 กรกฎาคม 2562. (หน้า 239-268).
2562 Abdulhadee Sabuding, Muhammadroflee Waehama, Yahari Kaseng. (2019). Pendekatan Halaqah dalam membentuk Siswa CIS, Prince of Songkla University : Satu tinjauan terhadap Team work dan sukarelawan. International Conference on Islam in Malay World IX (ICON-IMAD IX), August 19-21, 2019. Krabi, Thailand, College of Islamic Studies, PSU, Thaillalnd, Akademi Pengajian Islam, UM, Malaysia, Pasca Serjana UIN Sunan Gunung Djati, Indonesia, Universiti Islam Sultan Sharif Ali, Brunei Darussalam, (page 211-228)
2561 Ilyas Sidiki, Muhammadroflee Waehama, Abdulhadee Sabuding. (2018). “Dealing with non-Muslim according to the Qur’an and Sunnah” 4th National Conference 2018 Interdisciplinary and Islamization toward Sustainability in Building Peace and Virtuous Society. Organized by Research and Development office, Fatoni University. (page 1320-1337).
2558 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2558). “สถานภาพชาวยิวในสังคมมะดีนะฮ์” การประชุมระดับชาติครั้งที่ 2 ปี 2558 เรื่อง การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน, บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. (หน้า 497-509).
หนังสือ/ตำรา
ปี หนังสือ/ตำรา
2564 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2564). สีเราะฮ์ศึกษา : สัมพันธภาพระหว่างนบีมุหัมมัดกับชาวยิว. ปัตตานี: คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
2550 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2550). ประวัติศาสตร์อิสลาม : ราชวงศ์มุสลิม (Islamic History: Muslim Dynasties). สงขลา : บรรลือการพิมพ์
2543 ผศ.ดลมนรรจน์ บากา, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ. (2543). อาณาจักรออตโตมาน (ราชวงศ์อุษมานียะฮฺ). ปัตตานี: โรงพิมพ์มิตรภาพ.
รางวัล
ปี รางวัล
2565 รางวัลนักวิจัยที่ได้รับเชิญเป็น Keynote Speaker ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ประจำปี 2564 ในงาน "คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2565 (PRIDE OF PSU 2022)"
ติดต่อเรา

073-331-305

prfais@psu.ac.th

คณะวิทยาการอิสลาม 181 ถ.เจริญประดิษฐ์ ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี ประเทศไทย 94000