ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา
สาขาที่เชี่ยวชาญ:
- West Asian Studies - Political Science - Islamic Historyสมรรถนะอาจารย์ :
ห้องทำงาน : ชั้น 4 ห้องบัณฑิตศึกษา
ปี | ระดับ | สาขาวิชา | สถาบัน |
---|---|---|---|
2549 | ปริญญาเอก | West Asian Studies -Politics | Aligarh Muslim University, India |
ปี | งานวิจัย |
---|---|
2556 | นโยบายของฮามาสต่ออิสราเอล (Hamas Policy towards Israel) |
2556 | ประสิทธิภาพการดำเนินงานของศูนย์อำนวยความเป็นธรรมภาคประชาชนระดับตำบล (KEADILAN CENTRE) ปัตตานี (2556) โดยทุนของ STEP Project, UNDP |
2555 | การเสริมสร้างการตระหนักรู้ด้านกฎหมายแก่ชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2555) โดยทุนของ STEP Project , UNDP |
2554 | นโยบายของขบวนการฮามาสต่ออิสราเอล(Policy of Hamas towards Israel) |
2554 | การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อหารูปแบบการออกกำลังกายของสตรีที่สอดคล้องกับวิถีมุสลิม: กรณีศึกษาชุมชนบ้านรูสะมิแล (The Community Participation to Find Appropriate Patterns of Exercise in Muslim Way among Muslim Women: A Case Studies of Rusamilae Community) |
2551 | ความสัมพันธ์เชิงชาติพันธ์บริเวณชายแดนไทย-มาเลย์ (Ethnic Relations in the Border of Thailand-Malaysia) |
2551 | การส่งเสริมบทบาทเยาวชนระดับอุดมศึกษาเพื่อพัฒนากระบวนการยุติธรรมชุมชน(The Promoting Role of Youth in Highest Educational Institute in Development of Community Justice Process in Southern Thailand Border Provinces) |
2550 | รูปแบบพฤติกรรมทางเพศที่พึงประสงค์ของวัยรุ่นมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (The Suitable Sexual Behavior Pattern of Muslim Youth in 3 Border Provinces of Southern Thailand) |
ปี | บทความ |
---|---|
2566 | Thanachot Prahyadsap & Abdulroning Suetair. (2023). The Historical Meaning of the Term Haw and status of being the Haw Muslim minority in Thailand before the regime constitution monarchy. KARACHI ISLAMICUS. Vol. 3 No. 1 (2023): Karachi Islamicus. (January–June 2023) p 44 – 54. |
2566 | ธนโชติ ประหยัดทรัพย์ และอับดุลรอนิง สือแต. (2566). การสร้างชุมชนมุสลิมที่เข้มแข็งภายใต้รัฐที่ไม่ใช่อิสลาม: มองผ่านประวัติศาสตร์การก่อตั้งชุมชนมุสลิมภายใต้ราชวงศ์หยวน. วารสารประวัติศาสตร์. ปีที่ 48 ฉบับที่ 1 (2566) . หน้า 251-282. |
2565 | ธนโชติ ประหยัดทรัพย์ และอับดุลรอนิง สือแต. (2565). ประวัติศาสตร์และภูมิหลังของชุมชนมุสลิมเกาะยาวน้อย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2565. หน้า 15 – 28 |
2565 | ธนโชติ ประหยัดทรัพย์ และอับดุลรอนิง สือแต. (2565). การปรับตัวและการธำรงอัตลักษณ์ของกลุ่มแนวคิดในชุมชนมุสลิมเกาะยาวน้อย. วารรสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565). หน้า 113 – 145. |
2565 | Thanachot Prahyadsap & Abdulraning Suetair. (2022). Muslims in Koh Yao Noi: Different Perspectives on Tombs (Qubur). Asian Journal of Arts and Culture, Walailak University. Vol. 22 No. 1 (2022) January – June. |
2565 | ทวีศักดิ์ อุปมา และอับดุลรอนิง สือแต. 2565. แบบแผนการฟื้นฟูอิสลามในประวัติศาสตร์ :ระหว่างสนามความรู้และสนามอำนาจ. วารสารอันนูร มหาวิทยาลัยฟาตอนี. ปีที่ 17 ฉบับที่ 32 (ฉ.ที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2565). หน้า 37 – 50. |
2564 | อับดุลรอนิง สือแต. (2564). ยุทธศาสตร์อัฟกานิสถานของจีนและปากีสถานภายใต้กลุ่มตอลิบาน: ปลดล็อคปัจจัยสร้างสมดุลใหม่ในภูมิภาค. วารสารสถาบันเอเชียศึกษา. ISBN: 978-616-407-670-9. พิมพ์ครั้งที่ 1 2564. หน้า 231 – 255. |
2563 | มูฮําหมัดดาวูด ซอลฮาน, อับดุลรอนิง สือแต (2563). ประวัติความเป็นมาของชนชาติยิวในมิติอัลกุรอาน Jewish Prehistory in Dimensions of the Holy Quran. Journal of Islamic Studies, Prince of Songkla University (https://tci-thaijo.org/index.php/JOIS) Vol. 11 No. 2 (2020): July – December หน้า 38 – 46. |
2563 | มูฮําหมัดดาวูด ซอลฮาน, อับดุลรอนิง สือแต (2563). การอรรถาธิบายความหมาย (الأرض) ในอายะฮฺที่ 4 จากซูเราะฮฺอัลอิรออฺ ศึกษาแนวทางการก่อความเสียหายของบนีอิสราเอลในแผ่นดิน. Al-Hikmah Journal (Vol. 10 No.20) July - December 2020 หน้า.33-44 |
2560 | อับดุลรอนิง สือแต, นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน และซาวาวี ปะดาอามีน (2560). “ความสัมพันธ์เชิงชาติพันธุ์บริเวณชายแดนประเทศไทย-มาเลเซีย”วารสารอิสลามศึกษา ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560, วืทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,หน้า 18-28 |
2560 | ทิวากร แย้มจังหวัด, อับดุลรอนิง สือแต (2560). ข้อเท็จจริงประเด็นความขัดแย้ง: ยุคสมัยเคาะลีฟะฮฺ อุษมาน อิบนฺ อัฟฟาน วารสาร AL-NUR ปีที่ 12 ฉบับที่ 22 (ฉ.ที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560) 157 January-June 2017หน้า 157-171 |
2560 | อับดุลรอนิง สือแต และซาฝีอี อาดำ(2560) “ฮามาส: กำเนิด โครงสร้างและอุดมการณ์” วารสารอิสลามศึกษา ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560, วืทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,หน้า 49-64 |
2559 | ทิวากร แย้มจังหวัด, อับดุลรอนิง สือแต(2559). “การเจรจาสันติภาพเชิงอิสลาม : การแก้ปัญหาความขัดแย้งของเคาะลีฟะฮฺอุษมาน อิบนฺ อัฟฟาน” วารสารอัล-นูร ฉบับที่ 20 ปีที่ 11 (เล่ม 1 มกราคม–มิถุนายน 2559) มหาวิทยาลัยฟาฎอนี ,หน้า 21-31 |
2556 | อับดุลรอนิง สือแต (2556). “บทบาทประชาสังคมและอนาคตประชาสังคมอิสลามในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนใต้”วารสารเอเชียปริทัศน์ของสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉบับว่าด้วย “1 ทษวรรษ ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้” (ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556), หน้า 93-137 |
2555 | อับดุลรอนิง สือแต(2555). “รัฐเซคคิวลาร์และรัฐอิสลาม”, อิสลามกับความท้าทายของโลก สมัยใหม่: มุมมองจากนักวิชาการชายแดนใต้. กรุงเทพฯ : คณะทำงานวาระทางสังคม สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า206-239 |
ปี | บทความ |
---|---|
2563 | ธนโชติ ประหยัดทรัพย์ และอับดุลรอนิง สือแต (2563). แนวคิดการฟื้นฟูอิสลามในตำบลเกาะยาวน้อย อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 5 ประจำปี 2564 (23 ธ.ค.2563)จัดโดย คณะวิทยาการอิสลาม หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน้า 260-275 |
2563 | อีรดาวาตี มูซอ และอับดุลรอนิง สือแต(2563). ชุบฮาตในสังคมพหุวัฒนธรรม. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 5 ประจำปี 2564 (23 ธ.ค.2563) จัดโดย คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน้า 594-604 |
2563 | Thaweesak Uppama and Abdulroning Suetair(2563). THE CIRCLE THEORY: ON HUMAN BEING AND HISTORY IN ISLAM , 7th ONLINE INTERNATIONAL CONFERENCE ON POSTGRADUATE RESEARCH: SPECIAL EDITION (7th ONLINE ICPR 2020) International Conference on Postgraduate Research is an annual event organised by the Centre of Graduate Studies, Kolej Universiti Islam Antarabangsa Selangor (KUIS). p.60 |
2562 | ฮินดน อาแว และอับดุลรอนิง สือแต. (2562). “บทบาทและหน้าที่ของภรรยาในฐานะ ผู้สนับสนุนครอบครัวในอิสลาม: กรณีศึกษาภรรยามุสลิม ในอำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส” นำเสนอใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 4 ประจำปี 2562 (The 4th National Conference on Islamic and Muslim Studies 2019), 15 กรกฎาคม 2562. หน้า 35-53. |
2561 | มูฮำหมัดดาวูด ซอลฮาน และอับดุลรอนิง สือแต. (2561). “ความสำเร็จของรัฐอิสราเอลในมิติอัลกุรอาน” นำเสนอใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2561 หัวข้อ การบูรณาการสหวิทยาการกับอิสลามานุวัตรสู่การสร้างสันติภาพและสังคมคุณธรรมอย่างยั่งยืน, 18 ธันวาคม 2561 ณ อาคารเรียนรวมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปัตตานี. หน้า 98-111. |
2560 | อับดุลรอนิง สือแต มะรอนิง สาแลมิง และ มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย.(2560). “นิยามและกรอบระเบียบวิธีวิจัยมุสลิมศึกษา”การประชุมสัมมนา วิทยาการวิจัยทางด้านมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 2 วันที่ 26-27 สิงหาคม ประจำปี 2560 ณ โรงแรม อัล มีรอซ กรุงเทพมหานคร,หน้า 56-69 |
2559 | ศิริวัฒน์ ฮะยีเลาะ และอับดุลรอนิง สือแต(2559) “ศึกษาความสอดคล้องว่าด้วยอิสลามและประชาธิปไตยในตูนิเซียและอิยิปต์หลังอาหรับสปริง: มุมมองของผู้รู้มุสลิมสมัยใหม่” การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 40 ประจำปี 2559. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่:สงขลา,หน้า 766-778 |
2558 | ทิวากร แย้มจังหวัด และอับดุลรอนิง สือแต.(2558). “การศึกษาเปรียบเทียบสภาพปัญหาความขัดแย้ง ในยุคเคาะลีฟะฮฺอุษมานอิบนฺอัฟฟาน กับความขัดแย้งในบริบทพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้”. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2558 วันที่ 4 มิถุนายน 2558มหาวิทยาลัยฟาฎอนี,หน้า 481-496 |
2557 | อับบัส ยีรัน และอับดุลรอนิง สือแต. (2557). การจัดการเรียนการสอนของปอเนาะในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ หลังปี พ.ศ.2547 จนถึงปัจจุบัน.การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 2 ประจำปี 2557 วันที่ 24 ธันวาคม 2557 ณ อาคารวิทยอิสลามนานาชาติ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, หน้า 530-543 |
2557 | ยาฮารี กาเซ็ง และอับดุลรอนิง สือเเต.(2557). “การจัดกิจกรรมหะละเกาะฮฺ เพื่อพัฒนานักศึกษามุสลิม” รายงาน Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 2 ประปี 2557 วันที่ 24 ธันวาคม 2557 ณ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, หน้า 403-415 |
2557 | ทิวากร แย้มจังหวัด และอับดุลรอนิง สือแต. (2557). “บุคลิกภาพของเคาะลีฟะฮฺอุษมานอิบนฺอัฟฟาน” การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 2ประจำปี2557วันที่ 24 ธันวาคม 2557 วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, หน้า 307-319 |
ปี | หนังสือ/ตำรา |
---|---|
ไม่มีข้อมูลที่บันทึก |
ปี | รางวัล |
---|---|
2567 | รางวัล "อาจารย์ตัวอย่าง ระดับอุดมศึกษา" เนื่องในวันครู ประจำปีพุทธศักราช 2567 โดย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |