ตำแหน่ง : ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา
สาขาที่เชี่ยวชาญ :
- มุสลิมศึกษา - ศาสนาบัญญัติ - กฎหมายอิสลาม - หลักความเชื่อในศาสนาอิสลาม - สังคมและวัฒนธรรมมุสลิม - การวิจัยเชิงคุณภาพสมรรถนะอาจารย์ : ดรุณาจารย์
ห้องทำงาน : ชั้น 4 ห้องบัณฑิตศึกษา
isma-ie.k@psu.ac.th
ปี | ระดับ | สาขาวิชา | สถาบัน |
---|---|---|---|
2555 | ปริญญาเอก | Islamic Studies | Universiti Sains Malaysia, Penang, Malaysia |
2547 | ปริญญาโท | อิสลามศึกษา | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเทศไทย |
2539 | ปริญญาตรี | IslamicStudies da’wah and Usuluddin | Islamic University of Madinah Munawarah Saudi Arabia |
ปี | งานวิจัย |
---|---|
2564 | อีสมาแอ กาเต๊ะ และคณะ(2564).รูปแบบการปรับใช้แนวทางสายกลางตามหลักการศาสนาอิสลามในบริบทสังคมวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้. (ทุน วช.) 50% |
2564 | อีสมาแอ กาเต๊ะ.(2564).การศึกษากรอบวิธีวิจัยอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษาเพื่อนำปรับใช้ในบริบทสถาบันอุดมศึกษาที่มีสาขาวิชาอิสลามศึกษาในประเทศไทย.ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนวิจัยวิทยาเขตปัตตานี. 100% |
2563 | อีสมาแอ กาเต๊ะ (2563).ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดอะกีดะฮฺโต๊ะครูฮัจญ์อับดุลกอดีร บิน ฮัจญ์วาเงาะฮฺในหนังสือริซาละตุลอิรชาดุลยะวียีน อิลาซะบีลีอุลมาอีลอามิลีนเกี่ยวกับคุณลักษณะเคาะบารียะฮฺ. 100% |
2563 | อีสมาแอ กาเต๊ะนุมาน หะยีมาแซ (2563).แนวคิดโต๊ะครูฮัจญีสุหลง อัลฟาฎอนีย์เกี่ยวกับการรำลึกถึงวันพระสูตรของท่านนบีศ็อลลัลอฮุอะลัยฮิวะสลัม ศึกษาในหนังสือจะฮ์ยออิสลาม ฆูฆุสันซัยยิดุลอะนาม. มูลนิธิปัญญาปักษ์. 60% |
2562 | อีสมาแอ กาเต๊ะและคณะ (2562).ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาและผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อหลักสูตรอิสลามศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาคณะวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี . ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนวิจัยวิทยาเขตปัตตานี. 50% |
2561 | นุมาน หะยีมะแซ, ไพซอล ดาโอ๊ะและอีสมาแอ กาเต๊ะ. (2561).การปฏิสัมพันธ์เชิงศาสนาในประเทศสมาชิกอาเซียน:ศึกษากรณีประเทศอินโดนีเซียและประเทศสิงคโปร์. สกว. 60% |
2561 | อีสมาแอ กาเต๊ะ และนุมาน หะยีมะแซ. (2561). การนำหลักดุลยภาพอิสลามมาใช้ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติในพหุสังคม ศึกษากรณีครูอิสลามศึกษาแบบเข้มโรงเรียนในสังกัดพื้นที่จังหวัดปัตตานี เขต 1. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนวิจัยวิทยาเขตปัตตานี. 60% |
2558 | นุมาน หะยีมะแซและอีสมาแอ กาต๊ะ (2558) การศึกษาพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานศึกษามุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใต้.(สสม) 50% |
2558 | นุมาน หะยีมะแซ, ไพซอล ดาโอ๊ะและอีสมาแอ กาเต๊ะ. (2558) พลวัตความเข้าใจและตีความศาสนาอิสลามและวัฒนธรรมของสังคมมุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใต้ : ศึกษาการเปลี่ยนแปลงกับสถานภาพปัจจุบัน (งบประมาณแผ่นดิน) 20% |
2557 | มะรอนิง สาแลมิง อะห์มัด ยี่สุ่นทรง นิเลาะ แวอูเซ็ง นุมาน หะยีมะแซ ซัยนูรดิน นิมา ฆอซาลี เบ็ญหมัด อัสมัน แตอาลีและอีสมาแอ กาเต๊ะ (2557) การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2557 .(กระทวงยุติธรรม) 10% |
2556 | อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต นุมาน หะยีมะแซ และ อีสมาแอ กาเต๊ะ. (2556). คติชนวิทยาของมลายูมุสลิมจังหวัดปัตตานี: ศึกษาผ่านสุภาษิตและสำนวนสอนสั่ง.สนับสนุนโดยศูนย์ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. 30% |
2556 | วิชิต เรืองแป้น นุมาน หะยีมะแซ อีสมาแอ กาเต๊ะ ดวงพร หนูจันทร์. (2556). การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากน้ำและแนวทางการจัดการคุณภาพน้ำอย่างยั่งยืนในลุ่มน้ำปัตตานี.มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. สนับสนุนโดย สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษา และพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 20% |
2556 | อัสมัน แตอาลี มะรอนิง สาแลมิง อะห์มัด ยี่สุ่นทรง นิเลาะ แวอูเซ็งนุมาน หะยีมะแซ ซัยนูรดิน นิมา ฆอซาลี เบ็ญหมัดและ อีสมาแอ กาเต๊ะ (2556) การปรับปรุงระบบและเพิ่มศักยภาพการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบัญญัติศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2556. .(กระทวงยุติธรรม) 10% |
2555 | มะรอนิง สาแลมิง และอีสมาแอ กาเต๊ะ. (2555). แนวคิดบิดเบือนของกลุ่มตัสลีมและผลกระทบต่อสังคมมุสลิมในรัฐปีนัง มาเลเซีย. (สกว.) 50% |
ปี | บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร |
---|---|
2565 | Isma-ie Katih. (2022). Peaceful Coexistence According to Muhammad Ali al-Sabouni in His Book Safwat al-Tafsir. AL-NUR Journal. Fatoni University. 17(32), January–June 2022. (pp. 163-186) |
2565 | ไพซอล ดาโอ๊ะ, นุมาน หะยีมะแซ, อีสมาแอ กาเต๊ะ, มูหัมมัดตอลาล แกมะ. (2565). พลวัตวัฒนธรรมในสังคมมุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่13 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2565. (หน้า 99 -130). |
2565 | Isma-ie Katih. (2022). Peaceful Praying for the honor of the Prophet and seeking blessings from the righteous according to the scholars and the position of Sheikh Muhammad Alawi Al-Maliki from his book: Concepts that must be correct. วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 12 ฉบับที่ 24 กรกฎาคม-ธันวาคม 2565 ( หน้า 418-435) |
2564 | Isma-ie Kateh and Numan Hayimasae. (2021). Pemikiran Tuan Guru Haji Sulong al-Fatoni Terhadap Perayaan Mauld Nabi (SAW): Kajian dalam Kitab Cahaya Islam Gugusan Maulid Sayyid al-Anam. AL-NUR Journal. 15 (29). (pp. 73-90) |
2563 | อีสมาแอ กาเต๊ะ และนุมาน หะยีมะแซ. (2563). การนำมาใช้วะสะฏียะฮ์ในพหุสังคม: กรณีศึกษาครูอิสลามศึกษาแบบเข้มในโรงเรียนของรัฐในพื้นที่จังหวัดปัตตานี เขต 1 วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2563. |
2563 | Mohamed Aziz Abdelmaksoud Sayed, Ousmane Manzo, 3Rusdee Taher, Isma-ie Katih,Prasert Panprae, *Yousef A.Baker El-Ebiary. Strategy of Networked Cooperative E-Learning and Its Effect in Facilitating the Learning of Arabic Grammar in Light of the Quranic Text. Solid State Technology Volume: 63 Issue: 2s Publication Year: 2020. |
2562 | Ismaie Katih, Ibrahem Narongraksakhet nad sano Ibrahima Lamino (2019) Ethnic Strategic Movements in Political Representation:Exploring Some Key Conceptual and Theoretical Considerations. Journal of Civil &Legal Sciences. ISSN 2169-0170(). Volme 8*Issue 2* 1000266 (ระดับนานาชาติ), p. 2 of 8. |
2562 | อามีน ดาราพงค์ และ อีสมาแอ กาเต๊ะ (2562) กระบวนการตัรฺบียะฮฺ อิสลามียะฮฺ และการนำมาปรับใช้ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสาร อันนูร บัณทิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ฟาฎอนี. (147-159). |
2562 | อีสมาแอ กาเต๊ะ (2562) บทบาทของวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีต่อการทำความเข้าใจหลักวะสะฏียะฮ์ อิสลามและการปรับใช้ในสังคมพหุวัฒนธรรม. วารสารอิสลามศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562 วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ,หน้า (1-13 ). |
2562 | Ismaie Katih, Ibrahem Narongraksakhet and Abdulai M. Kaba. (2019). A Study of Islamic Education in Southern Thailand Provionces Public Schools: Obstacles and Solutions. Journal of Teaching and Education, ISSN: 2165-6266. P.129 – 136. |
2561 | อีสมาแอ กาเต๊ะ. (2561). วะสะฎียะฮในอิสลามกับการอยู่ร่วมกัน ท่ามกลางสังคมพหุวัฒนธรรมด้านความเชื่อและความคิด. วารสารอิสลามศึกษา, 1 มกราคม-มิถุนายน, หน้า 32-48. |
ปี | บทความที่นำเสนอที่ประชุมหรือสัมมนา |
---|---|
2565 | อีสมาแอ กาเต๊ะ(2565) การจัดการเรียนรูโดยใชวิจัยเปนฐาน (Research-based Learning หรือRBL) เร่อืง กลุมแนวคิดในอิสลามเพื่อสงเสริมการสรางบทความวิจัยของรายวิชากลุมแนวคิดในอิสลาม 761-217 (Sectarian Thoughts inIslam) คณะวิทยาลัยอิสลาม สาขาวิชาอิสลามศกึษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิทยาเขตปตตานี. การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดบั ชาติ ประจําปการศกึษา 2565 “สหวิทยาการวิจัยเพื่อการขับเคลื่อนสูการพัฒนาที่ยั่งยืน หลังยุคโควิด-19” มหาวิทยาลัยฟาฏอน(หน้า 154-167) |
2562 | มูหามะ แวนาซา และ อีสมาแอ กาเต๊ะ ( 2562 ) บทบาทของคณะกรรมการอิสลามประจามัสยิดในการพัฒนาเยาวชนมุสลิมในเขตอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านอิสลามศึกษาและการศึกษาเพื่อการพัฒนาครั้งที่ 2 The 2nd National and International Conference on Islamic Education and Education for Development (NICE 2nd 2019)ภายใต้โครงการพัฒนานักศึกษาด้านการทาวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิชาการ, หน้า 404-416. |
2562 | อีสมาแอ กาเต๊ะ ( 2562 ) บทบาทสถาบันอิสลามศึกษาในการยกระดับนักศึกษาสู่เวทีนานาชาติ: กรณีศึกษาโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี. ประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 เร่อื ง “เครือข่ายนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ 2019” วันจันทร์ ที่ 17 มิถุนายน 2562 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์หน้า, หน้า 574-585. |
2562 | ซาฟารี เหาะไบ และ อีสมาแอ กาเต๊ะ (2562) ศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายอิสลามและกฎหมายไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษาครั้งที่ 4 ประจาปี 2562The 4th National Conference on Islamic and Muslim Studies 2019 15 กรกฎาคม 2562 , หน้า 312-326. |
2562 | อีสมาแอ กาเต๊ะ ( 2562 ) การนำหลักวะสะฏียะฮฺอิสลามในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อยกระดับประชาชาตที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมสู่ประชาคมอาเซียน: กรณีศึกษาวิทยาลัยอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษาครั้งที่ 4 ประจาปี 2562The 4th National Conference on Islamic and Muslim Studies 2019 15 กรกฎาคม 2562 , หน้า 110-126. |
2562 | Isma-ie Katih (2019). Analisis tradisi maulid Nabi dalam karya ulama melayu Patani: Satu kajian Risalah Irsyaduljawiyyin ila Sabili al-Ulama’a al-Aminlin. Conference Proceeding ICON IMAD 2019 Internatioanl conference on Islamic in Malay World IX, Krabi, Thailand. 19 – 21 August 2019. (p.1 - 17). |
2562 | ฮาริษ นาแว และอีสมาแอ กาเต๊ะ (2562). การวิเคราะห์แนวคิดของฮัมกาเกี่ยวกัยบน้ำที่เป็นจุดเริ่มต้นของสิ่งมีชีวิตในหนังสือตัฟซีรอัลอัซฮัร. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านการสอนอิสลามศึกษาและการศึกษา ระหว่าง YRU และ UMJ วันที่ 9 ธันวาคม 2562. |
2562 | ฮีรด่าวาตี มูซอ และอีสมาแอ กาเต๊ะ (2562). การวิเคราะห์แนวคิดของอัลกุรฏุบีย์เกี่ยวกับอัรรุคเศาะฮ์ (การผ่อนปรน) ในหนังสือตัฟซีรอัล-ญามิอ์ ลิ อะห์กาม อัลกุรอาน. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านการสอนอิสลามศึกษาและการศึกษา ระหว่าง YRU และ UMJ วันที่ 9 ธันวาคม 2562. |
2562 | อามีเน๊าะ มามะ และอีสมาแอ กาเต๊ะ (2562). การวิเคราะห์แนวคิดของวะฮ์บะฮ์ อัซซุฮัยลีย์เกี่ยวกับการปกปิดเอาเราะฮ์ของมีลิมะฮ์ในหนังสือตัฟซีรอัลมุนีร. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านการสอนอิสลามศึกษาและการศึกษา ระหว่าง YRU และ UMJ วันที่ 9 ธันวาคม 2562. |
2561 | Isma-ie Katih & Numan Hayimasae.(2018) Aliran Salaf di Selatan Thailand Sejarah Perkembangn dan Kesanya. International Confrence on Islam in Malay World VIII “ strengthening regional Research Networking in islamic Studies 2-4 September 2018, หน้า 21-30. |
2561 | อีสมาแอ กาเต๊ะ. (2018). มูลเหตุและวิวัฒนาการเกิดศาสนาตามทัศนอิบนุกาษีรในหนังสือตัฟซีรุลกุรอานุลอาซีม . การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 ปี 2561 เรื่อง การบูรณาการสหัสวิทยากับอิสลามานุวัตร : การสร้างสันติภาพและสังคมคุณธรรมอย่างยั่งยืน, หน้า 110-120. |
2561 | ซาฟารี เหาะไบ และ อีสมาแอ กาเต๊ะ (2018) ประวัติความเป็นมาการอนุญาโตตุลาการในอิสลาม การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 ปี 2561 เรื่อง : การบูรณาการ สหัสวิทยากับอิสลามานุวัตร: การสร้างสันติภาพและสังคมคุณธรรมอย่างยั่งยืน, หน้า 248-265. |
2561 | อีสมาแอ กาเต๊ะ (2561)Islamic Education Via Halaqah Method : College of Islamic studies, Prince of songkla University, Pattani Province Student Halaqah Activities Output. International Conference on Low and Islamic Jurisprudence, หน้า 555-573. |
2560 | Isma-ie Katih. (2017). Tafsiran Hadith Nuzul menurut Tuan guru Haji Abdullqadir bin Haji Wangah dalam karyanyaRisalah Irsyaduljawiyiin ila sabiili al-Ulama’al-Amiliin. International Conference on Islamic dewelopmant and Social Harmony in southeast asia. Princess of Naradhiwats university Thailand. (516-521). |
2560 | ชารีฟ อาวัง และอีสมาแอ กาเต๊ะ. (2560). ความสนใจและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการกีฬาในหลักการอิสลามของของนักศึกษาวิชาชีพครู (พลศึกษา) ไทยมุสลิมในสถาบันอุดมศึกษาจังหวัดยะลา, การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 3 ประจำปี 2560. วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, หน้า 70-78. |
2560 | มูหามะ แวนาแซ และ อีสมาแอ กาเต๊ะ. (2560). บทบาทมัสยิดในสมัยท่านนบีมุหัมมัด.. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 3 ประจำปี 2560. วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, หน้า 332- 340. |
2559 | Safari Hohbai & Isma-ie Katih. (2016). การอนุญาโตตุลาการในกฎหมายอิสลาม : ศึกษาหลักการเบื้องต้น. International Conference on Islamic Jurisprudence (ICIJ2016)“The Sanctity Of Divine Islamic Law In Facing Current Challenges” 29 October 2016 (Saturday) VENUE Krabi Front Bay Resort Krabi, Thailand , หน้า 719-737. |
2559 | Isma-ie Katih & Numan Hayimasae. (2016). Kedudukan Merukuk di Kalangan Guru dan Pelajar dalam Institutsi Pendidikan Pondok di Selatan Thailand .International Conference on Islamic Jurisprudence CIJ 2016 “The Sanctity Of Divine Islamic Law In Facing Current Challenges 29October 2016( Saturday) VENUE Krabi Front Bay Resort Krabi, Thailand( (719-737 (ICIJ2016 The Sanctity Of Divine Islamic Law In Facing Current Challenges 29 October 2016 (Saturday VENUE Krabi Front Bay Resort Krabi, Thailand, หน้า 144-154. |
2559 | ซอฟวัน จารง และอีสมาแอ กาเต๊ะ. (2559). พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ของชาวไทย มุสลิมในอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ปี 2559เรื่อง “สันติศึกษาและการพัฒนางานวิจัยเพื่อสร้างสังคมแห่งสันติภาพ”. อาคารเฉลิม พระเกียรติ. มหาวิทยาลัยฟาฎอนี, หน้า 74-84. |
2559 | อับดุลฮาดี สะบูดิง, ญาดุลฮัก มิ่งสมร, อับดุลรอชิด เจะมะ และอีสมาแอ กาเต๊ะ. (2559). ความรู้และทัศนะของนักศึกษาวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เกี่ยวกับอะกีดะฮฺสลัฟ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 ประจำปี 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา วันที่ 24-26 เมษายน 2559 , หน้า 524-530. |
ปี | หนังสือ/ตำรา |
---|---|
2564 | อีสมาแอ กาเต๊ะ.(2564).มโนทัศน์พื้นฐานการวิจัยอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ISBN 978-616-271-662-1 โรงพิมพ์ปัตตานีอินโฟร์เซอร์วิส 17/289 หมู่ที่ 1 ถนนบ้านรูสะมิแล ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 จัดพิมพ์โดย คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 181 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 |
2564 | อีสมาแอ กาเต๊ะ.(2564). ศาสนาโลก ISBN 978-616-271-665-2 โรงพิมพ์ปัตตานีอินโฟร์เซอร์วิส 17/289 หมู่ที่ 1 ถนนบ้านรูสะมิแล ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 จัดพิมพ์โดย คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 181 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 |
2564 | อีสมาแอ กาเต๊ะ.(2564). Research Methodology in Islamic Studies ISBN 978-616-271-622-5โรงพิมพ์ปัตตานีอินโฟร์เซอร์วิส 17/289 หมู่ที่ 1 ถนนบ้านรูสะมิแล ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 จัดพิมพ์โดย คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 181 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 |
2563 | สมาแอ กาเต๊ะ.(2563).อีสมาแอ กาเต๊ะ.(2563) ประวัติพัฒนาการกลุ่มแนวคิดในสังคมมุสลิม. โรงพิมพ์ปัตตานีอินโฟร์เซอร์วิส. หมายเลข ISBN : 978-616-271-613-3.โรงพิมพ์ปัตตานีอินโฟร์เซอร์วิส 17/289 หมู่ที่ 1 ถนนบ้านรูสะมิแล ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 จัดพิมพ์โดย คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 181 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 |
ปี | รางวัล |
---|---|
2567 | รางวัลนักวิจัยดีเด่นคณะ/วิทยาลัย ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติในงาน คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2567 (PRIDE OF PSU 2024) |
2567 | รางวัลนักวิจัยที่ผลงานวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์/นโยบาย/ชุมชนและสังคม ประเภทนักวิจัยหลัก ชื่อผลงาน : การศึกษากรอบวิจัยอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษาเพื่อนำปรับใช้ในบริบทสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติในงาน คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2567 (PRIDE OF PSU 2024) |
2566 | รางวัลนักวิจัยที่ผลงานวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์/นโยบาย/ชุมชน ประจำปี 2565 (โดยมี ผศ.ดร.นุมาน หะยีมะแซ เเละ ผศ.ไพซอล ดาโอ๊ะ เป็นนักวิจัยร่วม) ในงาน "คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2566 (PRIDE OF PSU 2023)" งานวิจัย "รูปแบบการปรับใช้แนวทางสายกลางตามหลักการศาสนาอิสลามในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้" ชื่อหน่วยงานที่นำไปใช้: คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานี |
2566 | รางวัลนักวิจัยที่ผลงานวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์/นโยบาย/ชุมชน ประจำปี 2565 (โดยมี รศ.ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต ผศ.ดร.สราวุธ สายทอง นายซัยนูรดีน นิมา และนายรอกิ เจ๊ะเต้ เป็นนักวิจัยร่วม) ในงาน "คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2566 (PRIDE OF PSU 2023)" ชื่อรางวัล: การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาคนไทยไร้สถานะทางทะเบียนราษฎรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ชื่อผลงาน: โครงการศึกษาวิจัยและสำรวจข้อมูลการแก้ไขปัญหาคนไทยไร้สัญชาติในจังหวัดชายแดนภาคใต้ |
073-331-305
prfais@psu.ac.th
คณะวิทยาการอิสลาม 181 ถ.เจริญประดิษฐ์ ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี ประเทศไทย 94000