ดร.อับดุลลอฮ อัลอุซามะฮ์

ดร.อับดุลลอฮ อัลอุซามะฮ์

ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษาและกฎหมายอิสลาม


สาขาที่เชี่ยวชาญ:

- อิสลามศึกษา - อุศูลุดดีน - อะกีดะฮ์ - ประวัติศาสตร์อิสลาม - หลักการดะวะฮ์ - อัลกุรอาน - กิรออาต - ปรัชญาอิสลาม

สมรรถนะอาจารย์ :


ห้องทำงาน : ชั้น 5 ห้องสาขาวิชาอิสลามศึกษา หลักสูตรนานาชาติ

ประวัติการศึกษา
ปี ระดับ สาขาวิชา สถาบัน
2559 ปริญญาเอก Islamic Creed & Philosophy The World Islamic Sciences and Education University, Jordan
2552 ปริญญาโท Islamic Studies Prince of Songkla University, Thailand
2546 ปริญญาตรี Dawah & Usuluddin The Islamic University of Madinah, Saudi Arabia
งานวิจัย
ปี งานวิจัย
2564 วัฒนธรรมและความเชื่อของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่สุ่มเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธ์ 2019 (COVID 19) แนวทางในการลดทอนและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคด้วยหลักการอิสลาม หลักสุขภาวะและภูมิปัญญาท้องถิ่น ( นักวิจัยร่วม - อยู่ระหว่างการดำเนินการ)
2564 การศึกษาพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในการทำงานตามทัศนะอิสลามของคณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และนักศึกษาคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี (หัวหน้าโครงการ - อยู่ระหว่างการดำเนินการ)
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร
ปี บทความ
2562 อับดุลลอฮฺ อัลอุซามะฮ์ และนิอาบาดี มิง (2562). ความเชื่่อของมุสลิมในอำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เกี่ยวกับการทำนาย และการดูดวง วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ปีที่ 10 ฉบับ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2562: หน้า 27-39.
บทความที่นำเสนอที่ประชุมหรือสัมมนา
ปี บทความ
2563 ดร.อิลยาส สีเดะ ผศ.ดร.มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ และดร.อับดุลลอฮฺ อัลอุซามะฮ์ (2563)."บทบาทแพทย์แผงนบีต่อยุคสมัยโคโรนา" ต้นฉบับภาษาอาหรับ (دور الطب النبوي في أزمة كورونا) Peper No. PR1-007AR (Prosiding/บทความวิจัยนำเสนอในโครงการพัฒนาการจัดประชุมวิชาการและเสวนาออนไลน์ด้านอุตสาหกรรมฮาลาลผ่านกลไกไมซ์วิถีใหม่ เพื่อพัฒนาธุรกิจฮาลาลของตนเองในยุค COVID-19 ยกระดับและกระตุ้นเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) ชายแดนภาคใต้ ในวันที่ 19 กันยายน 2563 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี
2563 Adama Bamba, Abdulai M.Kaba and Abdulloh Al-usamah (2020) “Halal Food in Multi African, Asian Societies and Muslims-Non Muslims Relationships : A Covid 19 Era Strategic Vision in Political and Economic Dimensions” Peper No. MR-024SP (Prosiding/บทความวิจัยนำเสนอในโครงการพัฒนาการจัดประชุมวิชาการและเสวนาออนไลน์ด้านอุตสาหกรรมฮาลาลผ่านกลไกไมซ์วิถีใหม่ เพื่อพัฒนาธุรกิจฮาลาลของตนเองในยุค COVID-19 ยกระดับและกระตุ้นเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) ชายแดนภาคใต้ ในวันที่ 19 กันยายน 2563 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี
2562 ดร.อับดุลลอฮฺ อัลอุซามะฮ์ และดร.นิอาบาดี มิง (2562). ""หลักการอิสลามเกี่ยวกับการทำนาย(อัลกะฮานะฮฺ)และการดูดวง(อัลอิรอฟะฮฺ) : กรณีศึกษาความเชื่อของมุสลิมในอำเภอยะหริ่งจังหวัดปัตตานี"" ได้นำเสนอภาคบรรยายในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 4 ประจำปี 2562ณ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ลงตีพิมพ์ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 4 ประจำปี 2562 หน้า35
2562 ดร.อิลยาส สีเดะและดร.อับดุลลอฮฺ อัลอุซามะฮ์ (2562). "แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินเรื่องจริยธรรม" ต้อนฉบับภาษาอาหรับ (منهج الفكر في تقويم الأخلاق) ได้นำเสนอภาคบรรยายในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติICON IMAD ครั้งที่ 9ณ กระบี่ ฟร้อนท์ เบย์ รีสอร์ท จังหวัดกระบี่ ได้ลงตีพิมพ์ในรายงานการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ICON IMAD ครั้งที่ 9 หน้า702-719
2561 ดร.อับดุลลอฮฺ อัลอุซามะฮ์ (2561). "อิทธิพลของการไม่เชื่อในพระเจ้าต่อตัวบุคคลและสังคม" ชื่อบทความวิจัยภาษาอาหรับ (الإلحاد وأثره فيا لفرد والمجتمع) ได้นำเสนอภาคบรรยายในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ได้ลงตีพิมพ์ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4
หนังสือ/ตำรา
ปี หนังสือ/ตำรา
ไม่มีข้อมูลที่บันทึก
รางวัล
ปี รางวัล
ไม่มีข้อมูลที่บันทึก
ติดต่อเรา

คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

181 ถ.เจริญประดิษฐ์ ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี ประเทศไทย 94000

073-331-305

prfais@psu.ac.th