รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์


ตำแหน่ง : ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา & รองศาสตราจารย์ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา


สาขาที่เชี่ยวชาญ :

- พัฒนศึกษา - ความเป็นครูและวิธีวิทยาการสอน - การศึกษาผู้ปกครอง

สมรรถนะอาจารย์ :


ห้องทำงาน : ชั้น 2 ห้องสำนักงานผู้บริหาร


muhammadafeefee.a@psu.ac.th

ประวัติการศึกษา
ปี ระดับ สาขาวิชา สถาบัน
2559 ปริญญาเอก พัฒนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย
2552 ปริญญาโท Curriculum Studies University Sains Malaysia, Malaysia
2549 ปริญญาตรี ศึกษาศาสตร์-ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเทศไทย
งานวิจัย
ปี งานวิจัย
2567 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2565). การพัฒนากลไกความร่วมมือเครือข่ายทางการศึกษาในการขับเคลื่อนนวัตกรรมการบริหารและการจัดการเรียนรู้เพื่อลดการสอนและเพิ่มการเรียนรู้สู่การสร้างสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี 2567. ปีที่ได้ทุน 2567. บพท.[PMU A]. หัวหน้าโครงการ (อยู่ระหว่างการดำเนินการ).
2566 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2565). การพัฒนากลไกขับเคลื่อนพื้นที่เทศบาลเมืองปัตตานีสู่การเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้บนฐานทุนทางวัฒนธรรม 2566. ปีที่ได้ทุน 2566. บพท.[PMU A]. หัวหน้าโครงการ (อยู่ระหว่างการดำเนินการ).
2565 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2565). การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้. ปีที่ได้ทุน 2565. Fundamental Fund (FF) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช). หัวหน้าโครงการ (อยู่ระหว่างการดำเนินการ).
2564 สราวุธ สายทอง และมูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2564). กลยุทธ์พัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านการสอนภาษาอาหรับสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาฝั่งทะเลอันดามัน. กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ผู้ร่วมวิจัย (เสร็จสมบูรณ์).
2564 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ อาฟีฟี ลาเต๊ะ และรอมล๊ะ ดอเลาะ. (2564). การพัฒนาเครื่องมือวัดทักษะทางวัฒนธรรมสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). หัวหน้าโครงการ (เสร็จสมบูรณ์).
2564 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2564). การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้. ปีที่ได้ทุน 2564. Fundamental Fund (FF) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช). หัวหน้าโครงการ (อยู่ระหว่างการดำเนินการ).
2563 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และยุโสบ บุญสุข. (2563). แนวทางการขับเคลื่อนกลยุทธ์การสอนภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. หัวหน้าโครงการ (เสร็จสมบูรณ์).
2563 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2563). การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนิเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรับบริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (เสร็จสมบูรณ์)
2563 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ นัชชิมา บาเกาะ รุสนี ปาเซเลาะ ฝ้ายลิกา ยาแดง และอิลฮัม หะยีมะสาและ. (2563). ผลของการใช้หนังสือนิทาน “จ๊ะเอ๋” (ฉบับยาวี-ไทย) ที่มีต่อพัฒนาการของบุตรก่อนวัยเรียนและความสัมพันธ์ในครอบครัวตามบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). หัวหน้าโครงการ (เสร็จสมบูรณ์).
2563 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2563). กลยุทธ์การสอนอิสลามศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดภาคใต้. บพค.[PMU B]. หัวหน้าโครงการ (เสร็จสมบูรณ์).
2563 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2563). ชุดโครงการวิจัยอิสลามศึกษาเพื่อพัฒนาบุคคลในศตวรรษที่ 21. บพค.[PMU B]. หัวหน้าโครงการ (เสร็จสมบูรณ์).
2562 นัชชิมา บาเกาะ และมูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2562) พฤติกรรมการสอนที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในผู้เรียนของครูอิสลามศึกษาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดยะลา. กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ผู้ร่วมวิจัย (เสร็จสมบูรณ์).
2562 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2563). การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนิเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรับบริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (เสร็จสมบูรณ์)
2562 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และนัชชิมา บาเกาะ. (2562). แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองมุสลิมในการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงบริหาร (Executive Function Skills) ของเด็กปฐมวัยในจังหวัดปัตตานี. ทุนพัฒนาอาจารย์รุ่นใหม่ สกอ. ร่วมกับ สกสว. หัวหน้าโครงการ (เสร็จสมบูรณ์).
2561 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และคณะ. (2561). การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนิเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรับบริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้. สกสว. หัวหน้าโครงการ (เสร็จสมบูรณ์).
2561 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์, สราวุธ สายทอง, เกตุ อัสมิมานะ และนัชชิมา บาเกาะ. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนที่ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนของนักศึกษาฝึกสอนสาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา. กองทุนวิจัย คณะวิทยาการอิสลาม มอ.ปัตตานี. หัวหน้าโครงการ (เสร็จสมบูรณ์)
2561 วรวิทย์ บารู ศราวุธ เจ๊ะโส๊ะ มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ อะห์มัด ยี่สุ่นทรง อับดุลรอชีด เจะมะ และซัยนูรดีน นิมา. (2561). โครงการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบของชุดโครงการการเงินอิสลามและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย. ทุนสำนักงานกองทุนสนับสนุนวิจัย (สกสว). ผู้ร่วมวิจัย (เสร็จสมบูรณ์).
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร
ปี บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร
2567 Songmuang, J., Boonsuk, Y., & Assalihee, M. (2024). English learning behaviors in computer-mediated communication during COVID-19 in Thailand’s Deep Sputh. Innovation in Language Learning and Teaching. https://doi.org/10.1080/17501229.2024.2321267 (SCOPUS)
2567 Hama, Z., Waehama, M. and Assalihee, M. (2024). The growth and challenges of Islamic Finance in Thailand. International Journal of Islamic Thought, 25(June), 177-193. https://doi.org/10.24035/ijit.25.2024.295 (SCOPUS)
2567 Suryamah, A., Yuanitasari, D., Angela, I. M., & Assalihee, M. (2024). Regulation and Application of the Doctrine of Res Ipsa Loquitur in the Settlement of Consumer Disputes in Indonesia. Journal of Law and Legal Reform, 5(1). 237-266. https://doi.org/10.15294/jllr.vol5i1.2103 (SCOPUS)
2566 Boonchom, O., & Assalihee, M. (2023). The Development of Waqf Properties in Thailand Context: Challenges and Opportunities. Journal of Islamic Studies, Prince of Songkla University, 14(1). 259-282. (TCI2)
2566 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ อับดุลฮาดี สะบูดิง มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และจารุวัจน์ สองเมือง. (2566). คุณลักษณะผู้เรียน หลักสูตร และกลยุทธ์การสอนอิสลามศึกษาเพื่อสร้างบัณฑิตที่มีสมรรถนะบุคคลในศตวรรษที่ 21: กรณีศึกษาวิชาเอกอิสลามศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 14(1), 1-32.
2566 Salim, A., Mukhibat, M., Hayani, A., Wafa’, M., & Assalihee, M. (2023). Madrasah as Habitus for Increasing Tolerance in Multi-Religious Society. Cendekia: Jurnal Kependidikan dan Kemasyarakatan, 21(2), 148-162. doi:https://doi.org/10.21154/cendekia.v21i2.6341
2566 Assalihee, M., & Boonsuk, Y. (2023). Teaching management strategies on 21st century Islamic education for southernmost Thai private Islamic schools. Anatolian Journal of Education, 8(1), 13-28. (ERIC)
2566 Assalihee, M., & Kaba, M. A. (2023). 21st Century Islamic Education in Southern Thailandand Pondok: System, Conditions and Challenges. Journal of Namibian Studies, 35(2023): 352-369. (EBSCO: Humanities Source)
2566 Soliman, M., Ali, R.A., Khalid, J., Mahmud, I., Assalihee, M. (2023). Modeling the Continuous Intention to Use the Metaverse as a Learning Platform: PLS-SEM and fsQCA Approach. In: Al-Sharafi, M.A., Al-Emran, M., Tan, G.WH., Ooi, KB. (eds) Current and Future Trends on Intelligent Technology Adoption. Studies in Computational Intelligence, vol 1128. Springer, Cham. https://doi.org/10.1007/978-3-031-48397-4_3 (SCOPUS)
2565 วิทยา พยายาม และมูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2565). สภาพและผลกระทบการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนแบบญี่ปุ่น จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (Journal of Education Yala Rajabhat University). 1(2), 11-31. (TCI)
2565 Assalihee, M., & Boonsuk, Y. (2022). Factors Obstructing English Teaching Effectiveness: Teacher Voices from Thailand’s Deep South. IAFOR Journal of Education, 10(1), 155-172. (SCOPUS)
2565 Assalihee, M., & Boonsuk, Y. (2022). Reforming Religion-Based Higher Education for Sustainable Development: The Case of Islamic Studies International Program at Prince of Songkla University. In Engagement with Sustainable Development in Higher Education (pp. 67-82). Springer, Cham. (SCOPUS)
2564 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และนัชชิมา บาเกาะ. (2564). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัยมุสลิมในจังหวัดปัตตานี. Journal of Information and Learning [JIL]. 32(3), 67-82. (TCI1)
2564 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ นัชชิมา บาเกาะ ยุโสบ บุญสุข และ อิบรอฮีม ลามีน ซาโน. (2564). การเปรียบเทียบกลยุทธ์การสอนในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์กับประเทศไทย.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 16(2), 231-239. (TCI1)
2564 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ นัชชิมา บาเกาะ รุสนี ปาเซเลาะ ฝ้ายลิกา ยาแดง และอิลฮัม หะยีมะสาและ. (2564). การใช้หนังสือนิทานจ๊ะเอ๋ (ฉบับยาวี-ไทย) และผลที่มีต่อความสัมพันธ์ในครอบครัวกับพัฒนาการบุตรก่อนวัยเรียนของครอบครัวมุสลิมสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. Journal of Information and Learning [JIL]. 32(1), 29-40. (TCI1)
2564 สราวุธ สายทอง และมูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2564). การวิเคราะห์กลยุทธ์พัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านการสอนภาษาอาหรับสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาระดับมัธยมศึกษาฝั่งทะเลอันดามัน. Journal of Information and Learning [JIL]. 32(2), 30-39. (TCI1)
2564 มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ จารุวัจน์ สองเมือง มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ ยุโสบ บุญสุข และสราวุธ สายทอง. (2564). คุณลักษณะพึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนอิสลามศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในประเทศไทย. Journal of Information and Learning [JIL], 32(2). 40-50. (TCI1)
2563 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และนัชชิมา บาเกาะ. (2563). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาของบุตร. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 31(1), 13-24. (TCI2)
2563 นัชชิมา บาเกาะ และมูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2563). พฤติกรรมการสอนที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในผู้เรียนของครูอิสลามศึกษาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดยะลา. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 11(1), 14 - 32. (TCI2)
2563 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ นัชชิมา บาเกาะ เกตุ อัสมิมานะ และสราวุธ สายทอง. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 15(3), 353-362. (TCI1)
2562 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ สราวุธ สายทอง เกตุ อัสมิมานะ และนัชชิมา บาเกาะ. (2562). พฤติกรรมการสอนที่ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณในผู้เรียนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษาในพื้นที่บริบทจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 11(1), 15-34. (TCI1)
2562 Assalihee, M., Boonsuk, Y., Bakoh, N., & Sano, I. L. (2019). Reconceptualizing the 21st century English pedagogies for Islamic school teachers in Asean. Journal of Nusantara Studies, 4(1), 401-421. (Web of Sciences: ESCI)
2561 Assalihee, M., Premprayoon, K., Payayam, W. and Radenahmad. N. (2018). The Condition and Problems in Implementing Japanese Lesson Study of the Islamic Private Schools in Southern Thailand. Journal of Islamic Studies. 9(1). 49-57. (TCI2)
2561 Sari, L. H. and Assalihee, M. (2018). Perceptions and Attitudes of Students in Teaching Islamic Studies toward the English Language. Journal of Islamic Studies. 9(2), 15-21. (TCI2)
2560 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์, ชนิตา รักษ์พลเมือง, พรรณี บุญประกอบ. (2560). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดและการเรียนรู้ของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารอัล-ฮิกมะฮฺ. 7(13), 45-58. (TCI1)
2558 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และพรรณี บุญประกอบ. (2558). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 9(1), 81-96. (TCI1)
บทความที่นำเสนอที่ประชุมหรือสัมมนา
ปี บทความที่นำเสนอที่ประชุมหรือสัมมนา
2564 Sylla,L.M., Waehama, M., and Assalihee, M. (2021). The right to Islamic Jurisprudence: Its Concept, Its Pillars, and Difference between it and Duty. Proceedings of the 5th National Conference on Islamic and Muslim Studies 2021, Faculty of Islamic Science Prince of Songkla University, 23 December 2021. Pp 1273-1278.
2561 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ สราวุธ สายทอง และปัญญา นาวงษ์. (2561). การสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในอิสลาม. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ 4 “การบูรณาการสหวิทยาการกับอิสลามานุวัตร: การสร้างสันติภาพและสังคมคุณธรรมอย่างยั่งยืน” ณ มหาวิทยาฟาฏอนี 18 ธันวาคม 2561. หน้า 312-326.
2559 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และพรรณี บุญประกอบ. (2559). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองมุสลิมในการจัดการศึกษาของบุตร: กรณีศึกษาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย. รายงานการสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา (Proceedings) ครั้งที่ 15 ณ โรงแรมบีพี สมิหลา บีช สงขลา 28-29 พฤษพาคม 2559.
2559 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2559). กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้ปกครองเพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของบุตร: กรณีศึกษาผู้ปกครองมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ 3 ณ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 18 พฤษภาคม 2559. หน้า 317-326.
หนังสือ/ตำรา
ปี หนังสือ/ตำรา
2565 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2565). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการศึกษาของบุตร. กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดีจำกัด.
2564 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ และนัชชิมา บาเกาะ. (2564). พีแอลพีโมเดลเพื่อทักษะการคิดเชิงบริหารของบุตร (PLP Model for Children’s Executive Function Skills). ปัตตานี: คณะวิทยาการอิสลาม
2563 โอสมาน นูรี ทอปบาช. (2563). การคิดใคร่ครวญ (มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ แปล). อิสตันบูล: สำนักพิมพ์เอรกอม.
2561 มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2561). กระบวนการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดเชิงบริหารของสมอง (Executive Function: EF) เพื่อนำความรู้สู่แม่รุ่นใหม่ในชุมชน. ปัตตานี: สมาคมเยาวชนสร้างสรรค์ชายแดนใต้.
2560 อับดุลรอนิง สือแต, มะรอนิง สาแลมิง, และมูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. (2560). นิยามและกรอบระเบียบวิธีวิจัยมุสลิมศึกษา. ใน ยูโซะ ตาเละ, อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ, ชุติกาญจน์ เพ็ชรแก้ว (บรรณาธิการ), วิธีวิจัยด้านวิทยาการอิสลาม (Islamic Sciences Research Methodology) (หน้า. 26-27). ปัตตานี: หน่วยตีพิมพ์และวิจัย วิทยาลัยอิสลามศึกษา.
2556 ฮาฟิส ฟิรดาวส์ อับดุลลอฮฺ. (2556). แทนคุณ. แปลโดย มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์. กรุงเทพมหานคร: นัตวิดาการพิมพ์.
รางวัล
ปี รางวัล
2566 รางวัลเชิดชูเกียรติในงาน คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2566 (PRIDE OF PSU 2023) ประเภทรางวัล: นักวิจัยที่ได้รับรางวัลจากการนำเสนอผลงานระดับชาติ ประจำปี 2565 ชื่อรางวัล: รางวัลการนำเสนอผลงานยอดเยี่ยม ประจำห้อง SHA-Social Sciences, Humanities & Art ชื่อผลงาน: โครงการวิจัยอิสลามศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงในศตวรรษที่ 21
2565 รางวัลนักวิจัยดีเด่นคณะ/วิทยาลัย ประจำปี 2564 ในงาน "คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2565 (PRIDE OF PSU 2022)"
2563 รางวัลวิจัยระดับ “ชมเชย” การประกวดผลงานวิจัยดีเด่นด้านสังคมศาสตร์ โดยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2563
2563 รางวัลวิจัยระดับ “ชมเชย” ผลงานวิจัยดีเด่นด้านสังคมศาสตร์ โดยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2563
2562 นักวิจัยดีเด่นคณะวิทยาการอิสลาม ประจำปี พ.ศ. 2562
ติดต่อเรา

073-331-305

prfais@psu.ac.th

คณะวิทยาการอิสลาม 181 ถ.เจริญประดิษฐ์ ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี ประเทศไทย 94000